ep4 การส่งข้อมูลของแบบฟอร์ม

 ในตอนนี้เราจะมาฝึกเขียนโค้ดคำสั่งจัดการข้อมูลของฟอร์มกัน 

ซึ่งภาษา PHP จะมีตัวแปรชนิด superglobal ที่สามารถเรียกใช้งาน 2 วิธีคือ $_GET กับ S_POST 

โดยทั้งสองตัวแปร จะมีหน้าที่สำหรับการ รวบรวมข้อมูลหรือ data collect จากแบบฟอร์ม   

เราสามารถใช้ได้ทั้งแบบ get และแบบ post สำหรับ บทความนี้เราจะมาฝึกใช้งานตัวแปร Post กัน 

โดยใช้แท็ก <form action="ชื่อไฟล์" method="POST">

สร้างไฟล์ ชื่อ register_show.php

ในแท็กพื้นฐาน 

<html>

<body>

Name <?php   echo $_POST ["Firstname"]; ?> <br>

ข้อความแสดงด้านหน้ากำกับคล้าย label จากนั้น เปิดด้วยแท็ก coding ภาษา PHP แล้ว ใช้คำสั่งแสดงข้อมูลหรือ echo รับค่าจากฟอร์ม 

ทำต่อในคอลัมน์ต่อไปตามลำดับ จนครบ แล้วลองทดสอบผลการทำงาน

Last name

Phone 

Class 

</body>

</html>

เริ่มต้นเขียนภาษา PHP ด้วยตนเอง EP3 การสร้างฟอร์ม

 ตอนที่สาม เราจะมาสร้างฟอร์มสำหรับให้ คนกรอกข้อมูลที่เราต้องการจัดเก็บ กรอกเข้ามากัน 

แท็กแรกของฟอร์ม 

<form>


..... ใส่ส่วนต่างๆของแบบฟอร์ม เช่น ข้อความให้กรอก ตัวเลือกให้คลิก และคำสั่งให้เริ่มการทำงาน 

</form>


เราเขียนง่ายๆ โดยใช้แท็ก input หรือนำเข้าข้อมูล

เราจะได้รู้จัดชนิดของข้อมูล คือ text หมายถึงข้อความ 

ปุ่ม radio ไม่ใช่วิทยุนะครับ คือปุ่มที่สามารถให้เลือกข้อมูลตามที่เราต้องการได้ 

แท็ก <label>   </lable> สำหรับเขียนป้ายข้อความกำกับ

ปุ่มบันทึกข้อมูล save หรือปุ่ม submit เพื่อให้ code คำสั่งที่เรากำลังเริ่มต้นศึกษา ทำงานหรือ take action ตามที่เราต้องการกัน 

ตามตัวอย่าง เก็บข้อมูล ชื่อแรก first name 

ข้อมูลนามสกุล Lastname

ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ phone

และข้อมูลระดับชั้นการเรียน class



<form>
  <label for="Firstname"> Firstname:</label><br>
<input type="text" id="Firstname" name="Firstname"><br>
<label for="Lasttname"> Lastname:</label><br>
<input type="text" id="Lastname" name="Lastname"><br>
<label for="phone"> phone:</label><br>
<input type="text" id="Phone" name="Phone"><br>
<input type="radio" id="A1" name="class" value="อนุบาล 1">
<label for="A1"> อนุบาล1:</label><br>
<input type="radio" id="A2" name="class" value="อนุบาล 2">
<label for="A2"> อนุบาล2:</label><br>
<input type="radio" id="A3" name="class" value="อนุบาล 3">
<label for="A3"> อนุบาล3:</label><br>
<input type="submit" value="Submit"><br>


</form>



เมื่อจบบทนี้ เราควรได้รู้จักวิธีการสร้างแบบฟอร์มพื้นฐานที่สุดกัน เพื่อนำไปต่อยอด ความรู้และฝึกฝนเพิ่มเติมในโอกาสหน้า 



การสร้างฐานข้อมูล PHPMYADMIN

 หลังจากติดตั้งโปรแกรมจำลองการใช้งานผ่านเว็บหรือ Browser อย่าง XAMPP กันแล้ว 

มาดูขั้นตอนและวิธีการสร้างฐานข้อมูลกัน ไปที่โปรแกรมท่องเน็ตอย่าง Chrome แล้วพิมพ์ 

localhost/ ลงไปแล้ว enter

คลิกไปที่ phpmyadmin 

คลิก new 

ระบุชื่อฐานข้อมูล ลงไปเช่น myDB 

จากนั้นคลิกคำสั่ง  Create 


ขั้นต่อมาให้เราสร้างตารางขึ้นมาใหม่ โดยใช้วิธีคลิกที่ sql 

ฝึกการสร้างตารางขึ้นมาใช้งาน ตามคำสั่งเป็น 



สร้างตารางชื่อ students

Create tabel Students (


    id int(11),
    Firstname varchar(255),
    Lastname varchar(255),
    phone varchar(10),

);

มีคอลัมน์ id ชนิดข้อมูลเป็นตัวเลข ความยาว 11 ตัว

Firsrtname ชนิดข้อมูลเป็น ข้อความ ความยาว 255




เริ่มต้นเขียนภาษา PHP ด้วยตนเอง EP1 การ Connect

 การ Connect ฐานข้อมูลเป็น Code แรกที่เราจะเริ่มต้นเขียนกัน หรือจะ copy ไปวางก็ได้ แต่ควรอ่านและทำความเข้าใจ ในภาพรวมๆ 

เริ่มตั้งแต่การสร้างแท็กภาษา PHP

การกำหนดค่าตัวแปรขึ้นมาใช้งาน ในการเชื่อมต่อฐานข้อมูล phpmyadmin

การเขียน code ดักจับควาผิดพลาดการ connect ให้แสดงข้อความผิดพลาด หรือทำงานสำเร็จ 

และการรัน test ทดสอบการทำงานของ code


<?php
$servername = "localhost" ;
$username = "root" ;
$password = "" ;

try {
$conn=new PDO("mysql:host=$servername;dbname=myDB", $username,$password);
// set the PDO error mode to exception
$conn->setAttribute(PDO::ATTR_ERRMODE, PDO::ERRMODE_EXCEPTION);
echo "Connected successfully";
} catch (PDOException $e) {
echo "Connetion failed:" .$e->getMessage();

}
?>