สร้างแอพกาแฟอย่างง่ายด้วยตนเอง Coffee POS app by Appsheet

 ขั้นตอนแรก แนวคิดการออกแบบ เน้นง่าย และเป็นการฝึกการใช้งาน สร้างความเข้าใจพื้นฐาน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง Table relationship 

ออกแบบตารางฐานข้อมูลสำหรับโปรเจคง่ายๆ นี้กัน ดังนี้ 

ตาราง Sale บันทึกข้อมูลบิลขายสินค้า วันเวลาที่ขายสินค้า 

ตาราง Sale detail บันทึก รายละเอียดการขาย รายการขาย จำนวนที่ขาย คิดค่าสินค้า 


ตาราง product บันทึกข้อมูลสินค้า ในนี้คือ กาแฟ ชนิดต่างๆ 

ตาราง Customer ข้อมูล ลูกค้า อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ 


การออกแบบฟอร์มขาย UX View จำนวน 3 เมนูคือ สินค้า ขายสินค้า และ ลูกค้า ตามภาพประกอบ 

รู้จักกับ Main form คือ Sale Form กำหนดรหัสบิลขาย หรือ sale ID เป็นคีย์หลัก ห้ามซ้ำ โดยใส่ค่าเริ่มต้นของคอลัมน์เป็น QuiqueID  

การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง Sale กับ Sale detail คอลัมน์ Sale ID ของตาราง Sale detail เลือก ref และแหล่งข้อมูลเป็นตาราง Sale และติ้ก Is a part of ถูกด้วย เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงเมนูในการเรียกใช้งานแบบฟอร์มย่อย 



สูตรและคำสั่งที่จำเป็นในการสร้างแอพ 

[Product ID].[Price]*[Quantity]

คิดยอดขายแต่ละแก้ว 


[Pay by Cash]-[Total Price]

คิดเงินทอน 


SUM([Related Sale details][total price])

คิดยอดรวมการขายแต่ละบิลขาย 

How to create action in Appsheet to update the column in the table EP2

 In this EP2 I would show you guys how to create the bot to work automation for us let see.

from the left menu navigate to the Automation 

Create New bot

Name the bot like "Update book Status when borrow"


On Event select Data Change 

Add data 

Add a step 

name a step like : run action book borrow"

choose 

Run action on row

referenced table : Books

reference rows :  Select(Books[Book ID],[Book ID]=[_THISROW].[Book ID])

 Referenced action select : Change book status to Borrowed

Save


Create 2nd bot to run the action when the book was returned 

Go to Automation 

New  bot and name :  update book status when return


On Event select Data Change 

 data update  

Add a step 

name a step like : run action when book was returned "

choose 

Run action on row

referenced table : Books

reference rows :  Select(Books[Book ID],[Book ID]=[_THISROW].[Book ID])

 Referenced action select : Change book status to Available

Save




How to create action in Appsheet to update the column in the table EP1

For today learning Appsheet tips I would like to focus on Action or Behavior to do some tasks for us 

Action can do many things for us ,but today I will focus on how to update the column in the table 

This is a leaning project about the School library 

First step let's go to Google drive make new folder like School Library 

On the Books table is consisted of 

Book ID

Book Title

Book image

Book Author

Book Status (Enum : Borrowed / Available )


Book borrow table consisted of 


Borrow ID

Book ID

Date begin

Date end

Date return

Borrow Status (Enum : Borrowed / Returned )


NOTE: consider to Add some books data sample for learning steps into the books table

Create first Action to update the books status whenever the book was borrowed and added into the borrow table.


On Appsheet left menu panel navigate to The Behavior Section

Select + under the Books table 

Action name like : Change book status to Borrowed

Table : Books

Do this Data : set the values of some columns 

Set these column : Book status = Borrowed 

And save



Create a 2nd action

Select + under the Books table 

Action name like : Change book status to Available

Table : Books

Do this Data : set the values of some columns 

Set these column : Book status = Available

And save


Test Action 

Navigate to UX

On Book menu view

Click on the action icon and open the table to see the result 



วิธีสร้างแอพจัดการหนังสือที่บ้านด้วยตนเอง EP3

 สำหรับ ep ที่สาม ในส่วนของ text สำหรับอธิบายคนชอบอ่าน มากกว่าชอบดูและฟัง 

ขั้นตอนแรก คือ การสร้าง Action สำหรับอัพเดท คอลัมน์ Book status ตาราง Books 

ไปที่แท็บ Data 

เลือกตาราง Books

ไปที่เมนู Behavior 

คลิกคำสั่ง Actions

คลิกปุ่ม + ตั้งชื่อว่า Update book status checkout 

rocord of this table = books

do this = set the value of some column in the row 

เลือก คอลัมน์ book status = "ถูกยืม"

คลิก save 


สร้างอีก 1 action สำหรับอัพเดทสถานะหนังสือ ให้กลับมา ปกติ พร้อมใช้งาน อัตโนมัติ เมื่อ ตารางยืมหนังสือ มีการเปลี่ยนแปลงสถานะหนังสือ จาก ถูกยืม เป็น ส่งคืน 


เลือกตาราง Books

ไปที่เมนู Behavior 

คลิกคำสั่ง Actions

คลิกปุ่ม + ตั้งชื่อว่า Update book status when return

rocord of this table = books

do this = set the value of some column in the row 

เลือก คอลัมน์ book status = "พร้อมใช้งาน"

คลิก save 


ไปสร้าง bot เพื่อผูกหรือโยง 2 actions ดังกล่าวให้ทำงานกัน 

ไปที่คำสั่ง Automation 

สร้าง bot ตัวแรกว่า update book status to checkout

สร้าง event หรือเหตุการณ์ เฉพาะเจาะจงขึ้นมาในตารางของการบันทึกยืมหนังสือ Borrow 

การทำงานคือ Data change กำหนด add data คือ มีการบันทึกยืมหนังสือเข้ามา 

การเพิ่ม Step หรือขั้นตอนการทำงาน 

Run action on row

referenced table เลือก Books

การกำหนดค่า  reference rows ในการอ้างอิง 

Select(Books[Book ID],[Book ID]=[_THISROW].[Book ID])

ตรง Referenced action เลือก Update book status checkout 

คลิก Save


สร้าง Bot เพิ่มอีก 1 ตัว 

ไปที่คำสั่ง Automation 

สร้าง bot ตัวสองว่า update book status when return

สร้าง event หรือเหตุการณ์ เฉพาะเจาะจงขึ้นมาในตารางของการบันทึกยืมหนังสือ Borrow 

การทำงานคือ Data change กำหนด Update  คือ มีการแก้ไขข้อมูลตอนคืนหนังสือ 

การเพิ่ม Step หรือขั้นตอนการทำงาน 

Run action on row

referenced table เลือก Books

การกำหนดค่า  reference rows ในการอ้างอิง 

Select(Books[Book ID],[Book ID]=[_THISROW].[Book ID])

ตรง Referenced action เลือก Update book status when return

คลิก Save


 



วิธีสร้างแอพจัดการหนังสือที่บ้านด้วยตนเอง EP2

หลังจาก ออกแบบตารางฐานข้อมูลด้วย Google sheet 
ขั้นต่อมาไปที่ appsheet
สร้าง new แอพ เลือกตารางฐานข้อมูล ไปที่ตาราง google sheet ที่สร้างไว้ นำเข้ามาให้ครบทั้ง 3 ตาราง
ขั้นต่อมา 
กำหนดคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละคอลัมน์ 
ดังนี้

โดยที่ตาราง Books บันทึกข้อมูลหนังสือ จะมี 6 คอลัมน์ ได้ แก่ 

Book ID       text เป็น key หลัก ค่าเริ่มต้น initial ใส่ uniqeid()

Book title    test 

Book cover    image 

Book cate    ref    (สร้างตารางเพิ่ม )

Book author    text 

Book status  enum เพิ่มสถานะ  ถูกยืม และ พร้อมใช้งาน 

 

ตาราง Borrowed บันทึกข้อมูลการยิมหนังสือ จำนวน 7 คอลัมน์ ได้แก่ 

Borrow ID   text เป็น key หลัก ค่าเริ่มต้น initial ใส่ uniqeid()

Book ID   ref โยงไปที่ตารางหนังสือ books

Member ID   ref โยงไปที่ตารางหนังสือ Members

Date start   วันที่ date

Date end  วันที่ date

Date return   วันที่ date

Borrow status    enum เพิ่มเงื่อนไข  ถูกยืม และ ส่งคืน 


ตาราง Members บันทึกข้อมูลสมาชิก จำนวน 4 คอลันน์ ประกอบด้วย 

Member ID   text เป็น key หลัก ค่าเริ่มต้น initial ใส่ uniqeid()

Member name   text ข้อความ 

Mphone    phone 

Date register    date วันที่ 


การสร้างวิวหรือ มุมมอง UX

จำนวน 4 มุมมอง    คือ 

หมวดหมู่ 

หนังสือ

ยืมหนังสือ

สมาชิก


ขั้นตอนและวิธีการสร้าง สามารถชมได้จากคลิปวีดีโอ ครับ 


การบันทึกข้อมูลสมาชิก ข้อมูลหนังสือ การจัดกลุ่มการแสดงผล 


จบ ep2 ไปตามต่อ ep3 สร้าง action และ bot มาติดตามสถานะ การยืมและการคืนหนังสือ 





วิธีสร้างแอพจัดการหนังสือที่บ้านด้วยตนเอง EP1

 สำหรับบทความแนว How to ในวันนี้แอดมินจะมาเอาใจพิเศษคนรักหนังสือ หรือชอบสะสมหนังสือ โดยจะมาสอนวิธีการสร้างแอพจัดการข้อมูลหนังสือที่บ้าน หรือสำนักงานขนาดเล็กๆ ด้วยตนเอง 

โดยใช้โปรแกรม Appsheet และฐานข้อมูล Google drive 

ตามแนวคิดหรือ concept ของแอพ เน้นที่ประสิทธิภาพและความง่ายในการใช้งาน 

โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ตอนด้วยกัน คือ 

  • สร้างฐานข้อมูลด้วย Google Sheet 
  • สร้างแอพจัดการหนังสือด้วย  Appsheet 
  • การสร้างระบบงาน workflow เพื่อตรวจสอบสถานะการยืมและส่งคืนหนังสือ 


ขั้นตอนแรก เริ่มจากการออกแบบตารางฐานข้อมูล 3 ตาราง คือ Books , Borrowed , และ Members 

โดยที่ตาราง Books บันทึกข้อมูลหนังสือ จะมี 6 คอลัมน์ ได้ แก่ 

Book ID

Book title 

Book cover 

Book cate

Book author 

Book status

 

ตาราง Borrowed บันทึกข้อมูลการยิมหนังสือ จำนวน 7 คอลัมน์ ได้แก่ 

Borrow ID

Book ID

Member ID

Date start

Date end

Date return

Borrow status


ตาราง Members บันทึกข้อมูลสมาชิก จำนวน 4 คอลันน์ ประกอบด้วย 

Member ID

Member name

Mphone

Date register





ep4 การส่งข้อมูลของแบบฟอร์ม

 ในตอนนี้เราจะมาฝึกเขียนโค้ดคำสั่งจัดการข้อมูลของฟอร์มกัน 

ซึ่งภาษา PHP จะมีตัวแปรชนิด superglobal ที่สามารถเรียกใช้งาน 2 วิธีคือ $_GET กับ S_POST 

โดยทั้งสองตัวแปร จะมีหน้าที่สำหรับการ รวบรวมข้อมูลหรือ data collect จากแบบฟอร์ม   

เราสามารถใช้ได้ทั้งแบบ get และแบบ post สำหรับ บทความนี้เราจะมาฝึกใช้งานตัวแปร Post กัน 

โดยใช้แท็ก <form action="ชื่อไฟล์" method="POST">

สร้างไฟล์ ชื่อ register_show.php

ในแท็กพื้นฐาน 

<html>

<body>

Name <?php   echo $_POST ["Firstname"]; ?> <br>

ข้อความแสดงด้านหน้ากำกับคล้าย label จากนั้น เปิดด้วยแท็ก coding ภาษา PHP แล้ว ใช้คำสั่งแสดงข้อมูลหรือ echo รับค่าจากฟอร์ม 

ทำต่อในคอลัมน์ต่อไปตามลำดับ จนครบ แล้วลองทดสอบผลการทำงาน

Last name

Phone 

Class 

</body>

</html>