Row แถว เรียงกันไปเป็นแถวๆ คณิตเรื่องกราฟ คือ แกน X
Column แท่งแนวตั้งหรือแนวดิ่งไหม ถ้าคณิตเรื่องกราฟ คือ แกน Y
Concept หรือแนวคิด เรื่องนี้
โครงสร้างของคอลัมน์
พิจารณาองค์รวมของตาราง แล้ว ตรวจสอบดูข้อมูลของแต่ละ คอลัมน์ ชนิด และคุณสมบัติ หรือ ภาษาในการพัฒนาแอพ เขาจะใช้ว่า type and properties
ในแอพชีพ ตัวเขียนแอพ Editor
พื้นฐานคอลัมน์ ชื่อของคอลัมน์ และชนิดของข้อมูล
แต่ละคอลัมน์ต้องมีชื่อ จะไทย หรือ อังกฤษ ก็ได้ โดย Appsheet จะเลือก type หรือชนิดของข้อมูล ตามชื่อของคอลัมน์ที่เรากำหนด เช่น
รูปภาพ ก็จะได้ type เป็น image
วันที่ ก็จะได้เป็น DAte
เป็นต้น
แน่นอนว่า เราสามารถเลือกชนิดข้อมูลของเราเองได้ หลักๆ ก็จะมี ตัวเลข ข้อความ เป็น วันที่ วันที่และเวลา เป็นกล่องตัวเลือก หมายเลขโทรศัพท์
การเริ่มต้นใช้งาน ควรจะ กำหนดชื่อ และชนิดข้อมูล ที่ต้องการจัดเก็บ ให้ชัดเจน พร้อมวัตถุประสงค์ ในการจัดเก็บ
**การเปลี่ยนชื่อคอลัมน์ ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะว่า จะเกิดข้อผิดพลาดของการทำงานได้
ถ้ามีข้อผิดพลาดระหว่าง ตารางข้อมูล และมีข้อความแจ้งเตือนข้อผิดพลาด error เราก็จะต้อง ซิงค์ข้อมูลกันใหม่ ผ่านคำสั่ง Regenerte
KEYS
อาจจะเป็นคอลัมน์ที่เก็บข้อมูล รหัสประจำประชาชน 13 หลัก ซึ่งข้อมูลจะต้องไม่ซ้ำกัน ส่วนชื่อ และนามสกุล อาจจะมีโอกาสซ้ำกัน จึงไม่นิยมใช้นำมาเป็น Keys
ถ้าผู้ใช้งานเปลี่ยนแปลงดาต้าใดๆ ในแอพ หมายถึงพวกเขาแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล ผ่านระบบจำลองข้อมูล บนอุปกรณ์มือถือของพวกเขา เรียกว่า data cached on device
เมื่อ มีการซิงค์ข้อมูลกับ Cloud Server ก็จะอัพเดทข้อมูลให้
คุณสมบัติ 2 ชนิด Roles and Behaviors
Role จะทำหน้าที่พิจารณาคอลัมน์ ส่วน Behavior จะทำหน้าที่พิจารณาว่าคอลัมน์จะทำอะไร
มีคุณสมบัติหลายอย่าง ที่เราสามารถเปลี่ยนแปลง ทั้ง Role และ Behavior
คุณสมบัติ ต่างๆ ได้แก่
Descriptive คำอธิบายแถว
INITIAL VALUE ค่าเริ่มต้น
SEARCHABLE สืบค้นได้
SCANABLE สแกนได้
SENSITIVE DATA ข้อมูลสำคัญ
การฝึก Practice
ให้คนอ่าน ลงชื่อใช้งาน appsheet
ต้องมีบัญชี gmail หรือ hotmail แนะนำ gmail
แล้วไป 2 ที่ในแอพ คือ
เปลี่ยนคุณสมบัติของคอลัมน์
เรียนเพิ่มเติม สูตรใน appsheet
การเปลี่ยนค่า Role ของคอลัมน์
Key ห้ามมีข้อมูลซ้ำ เป็นข้อมูลสำคัญ
Label ป้ายกำกับ
Read-only อ่านได้เพียงอย่างเดียว
Hidden ซ่อน
ReQuired จำเป็น ห้ามเป็นค่าว่าง
DisplayName แสดงชื่อ
การเปลี่ยนค่า Behavior ของคอลัมน์
กำหนดเงือนไขในการควบคุม การทำอะไรของคอลัมน์ เช่น จำนวนค่าต่ำสุด หรือ มากสุด มีผลเมื่อ หรือ ไม่มีผลเมื่อ จำเป็นเมื่อ หรือ แก้ไขได้ เมื่อ
min and max length, as well as your Valid_If, Show_If, Required_If, and Editable_If constraints, in the "Edit this column definition" view
แท็บ Show All Properties คลิก เพื่อแสดง คุณสมบัติทั้งหมด
นอกจากนั้น ยังสามารถสร้าง คอลัมน์จำลอง Virtual column ขึ้นมาใช้งาน บางครั้งระบบ ก็จะสร้างคอลัมน์จำลองให้เอง เพื่อ ช่วยการทำงานของแอพ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และความต้องการของผู้สร้าง
** ถ้ามีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง คุณสมบัติต่างๆ จะต้อง update ไปที่ Source Table ต้นทางด้วยเสมอ โดยการคลิกที่ Regenerate
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น