ทำความรู้จัก Inputs to a Method

ทำความรู้จัก Inputs to a Method
เปรียบเทียบได้กับการทำอาหารสักอย่าง ซึ่งจะต้องมีการกำหนดความต้องการของวัสดุ เช่น พริก เกลือ น้ำ น้ำตาล น้ำปลา ฯลฯ เป็นต้น จากนั้น ก้นำไปคลุก หรือปรุงรสให้เข้ากันตามลำดับหรือขั้นตอนของการทำ จนได้ Output ผลสุดท้ายออกมาเป็นอาหารสำเร็จรูปตามที่เรารับปรทานหรือกินกันในแต่ละวันนั้นเอง
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม การผ่านค่าข้อมูลในการเขียน Code
https://docs.oracle.com/javase/tutorial/java/javaOO/arguments.html

ทางเทคนิคแล้ว ีศัพท์แสงอีก 1 ตัวที่ต้องเข้าใจคือว่าคำว่า Arguments แปลตรงตัวแล้ว อย่าเข้าใจว่าเปนการทะเลาะกัน หรือขัดแย้งกัน ในความหมายของการพัฒนาแอพ อาร์กิวเมนต์ ตัวนี้ จะหมายถึง ค่า input ที่ถูกส่งออกไปยัง ตัวประเมินผล Method
สำหรับการทดลองเขียนค่า input แล้ว สิ่งสำคัญคือ ชนิดของ Data type จะต้องตรงกันกับ Method หาไม่แล้ว ก็จะรันแอพ ไม่ได้ เพราะเกิด error นั้นเอง


เราสามารถที่จะเพิ่มหรือลดจำนวนของ input ที่จะส่งออกไปยัง method ได้เช่นกัน
ดูเพิ่มเติม การส่งคืนค่า Return value
https://docs.oracle.com/javase/tutorial/java/javaOO/returnvalue.html

ตัวอย่างการส่งคืนค่าประมวลผลของ method

The data type of the return value must match the method's declared return type; you can't return an integer value from a method declared to return a boolean.
The getArea() method in the Rectangle Rectangle class that was discussed in the sections on objects returns an integer:
    // a method for computing the area of the rectangle
    public int getArea() {
        return width * height;
    }


การคืนค่าคำนวณ ความกว้าง * ความสูง 
ข้อแตกต่างของ Input กับ return คือ 
input สามารถใส่ค่าเข้าไปหลายตัวและแบ่งด้วย , 
แต่ return จะคืนค่าได้เพียงค่าเดียว 
แถมอีกตัว Java Keyword คือคำสำคัญที่ภาษาจาว่า กันไว้ใช้งานเป็นค่าเฉพาะของโปรแกรม ในการอ้างอิง คือคำว่า return ซึ่งจะไม่สามารถนำเอาคำว่า return ไปใช้งานเป็นชื่อของตัวแปร หรือค่าอื่นๆ ได้เป็นต้น 
ต้องการศึกษาเพิ่ม Java Keywords List 

แถบอีกคำใหม่ที่ได้รู้ void หมายถึง การสิ้นสุดค่าของการ return ที่ไม่จำเป็นต้องปิด attributes ด้วยคำว่า return;
ดังนั้น void จึงเป็นอีก 1 คำสงวนของการเขียนภาษาจาว่าครับ

ليست هناك تعليقات:

إرسال تعليق